อย
กองด่านอาหารและยา

IMPORT AND EXPORT INSPECTION DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับเรา
    • โครงสร้างองค์กร
    • วิสัยทัศน์และพันธกิจ
    • ประเด็นยุทธศาสตร์
    • นโยบายคุณภาพกองฯ
  • กฎหมายและแนวทาง
  • คู่มือประชาชน
  • สถิติ
  • ติดต่อเรา
  • สำหรับเจ้าหน้าที่
  • จองห้องประชุม
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับเรา
    • โครงสร้างองค์กร
    • วิสัยทัศน์และพันธกิจ
    • ประเด็นยุทธศาสตร์
    • นโยบายคุณภาพกองฯ
  • กฎหมายและแนวทาง
  • คู่มือประชาชน
  • สถิติ
  • ติดต่อเรา
  • สำหรับเจ้าหน้าที่
  • จองห้องประชุม
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
ภาษา
EN
image assembly
การเข้าถึง
close assembly
  • ขนาดตัวอักษร
    • ก
    • ก
    • ก
  • การเว้นระยะห่าง
    • icon space 1
    • icon space 2
    • icon space 3
  • ความตัดกันของสี
    • icon color 1สีปกติ
    • icon color 2ขาวดำ
    • icon color 3ดำ-เหลือง
banner

  • หน้าแรก
  • คำถามที่พบบ่อย
  • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 420
  • ทั้งหมด
  • การขอเข้าใช้ระบบสารสนเทศ
  • การยื่น License per Invoice ผ่านระบบ NSW
  • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 420
  • ผลิตภัณฑ์เครื่องมือแพทย์
  • ผลิตภัณฑ์อาหาร


คำตอบ กรณีผู้ประกอบการนำเข้าปลาแมคคาเรลทั้งตัว-แช่แข็ง เพื่อจำหน่ายให้แก่โรงงานผลิตปลากระป๋อง ถือเป็น การนำเข้าเพื่อจำหน่าย แต่สินค้าดังกล่าวทำการแช่แข็งบนเรือที่จับปลา ไม่ได้แช่แข็งในโรงงาน จึงถือว่าสถานที่ ผลิตไม่เป็นหลักแหล่ง (เป็นยานพาหนะเคลื่อนที่) ดังนั้นจึงไม่ต้องปฏิบัติตาม ปสธ. 420

คำตอบ ผู้นำเข้าเนื้อปลาแพนกาเซียสแช่แข็ง และปูม้าทั้งตัว-แช่แข็ง เพื่อจำหน่ายต้องปฏิบัติตาม ปสธ. 420 โดย การแสดง Certificate ของสถานที่ผลิตในต่างประเทศที่เทียบเท่าหรือไม่ต่ำกว่าข้อกำหนดพื้นฐานของ ปสธ. 420 เนื่องจากอาหารทั้งสองชนิดเข้าข่ายมีการผลิต (กรณีปลาแพนกาเซียส มีการตัดแต่งและแช่แข็ง ส่วนกรณีปูม้ามี การแช่แข็ง)

คำตอบ กรณีทผู้ประกอบการนำเข้าผักผลไม้สดที่ไม่ใช่ชนิดพืชตามบัญชีหมายเลข 1 ของ ปสธ. 386 เช่น กีวีที่ผ่านการคัด-บรรจุ ต้องแสดง Certificate ที่ระบุมาตรฐานระบบการผลิตตาม ปสธ. 420 แต่เนื่องจากมาตรฐานระบบ การผลิตตาม ปสธ. 386 เป็นมาตรฐานฯ ที่เทียบเท่าหรือไม่ต่ำกว่า ปสธ. 420 ข้อกำหนดพื้นฐาน ดังนั้นผู้นำเข้า สามารถแสดง Certificate ที่ระบุมาตรฐานระบบการผลิตตาม ปสธ. 386 ประกอบการนำเข้ากีวีได้

ทั้งนี้ ชื่อ-ที่ตั้งของผู้ผลิตที่ปรากฏบน Certificate ต้องเป็นของโรงคัดบรรจุ (Packing House) ไม่ใช่ผู้ปลูก (Grower) เว้นแต่ผู้ปลูกจะเป็นทั้งผู้ปลูกและผู้คัดบรรจุด้วย

คำตอบ ผู้นำเข้าสามารถใช้เอกสาร Health Certificate หรือ Certificate of Free Sale หรือ Business License หรือเอกสารอื่นๆ ที่ออกโดยหน่วยงานของรัฐของประเทศผู้ผลิต ที่มีการระบุถึงการให้การรับรองตามข้อกำหนด ด้านสุขลักษณะที่ดีหรือการจัดทำระบบการวิเคราะห์อันตรายและควบคุมจุดวิกฤตในการผลิตอาหารของสถานที่ ผลิตที่เทียบเท่าหรือไม่ต่ำกว่า ปสธ. 420 เป็นเอกสารหรือใบรับรองมาตรฐานระบบการผลิตอาหารได้

คำตอบ ผู้นำเข้าสามารถศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ได้ บนเว็บไซต์กองด่านอาหารและยา

1) แนวทางตรวจสอบการนำเข้าอาหาร ตาม ปสธ. 420 https://bit.ly/3FuhwVs

2) ตัวอย่างใบรับรอง (Certificate) ตาม ปสธ. 420  https://bit.ly/3FHfG3F

3) รายชื่อหน่วยงานที่รัฐรับรอง https://bit.ly/30xbCUF

คำตอบ มีการเผยแพร่ตัวอย่างรายชื่อมาตรฐานระบบการผลิตอาหารที่เทียบเท่าประกาศกระทรวงสาธารณสุข ใน เว็บไซต์กองอาหาร ดังนี้

http://food.fda.moph.go.th/law/data/Ex_386.pdf สำหรับการนำเข้าอาหารตาม ปสธ. 386

http://food.fda.moph.go.th/law/data/Ex_420.pdf สำหรับการนำเข้าอาหารตาม ปสธ. 420

คำตอบ Certificate ที่มีการระบุมาตรฐานระบบการผลิตต่าง ๆ ที่ข้อกำหนดได้นำหลักการของการวิเคราะห์ อันตรายและควบคุมจุดวิกฤต (Hazard Analysis and Critical Control Point System : HACCP) มาประยุกต์ใช้ เ ช ่ น  Food Safety Management Systems–Requirements for any Organization in the Food Chain, ISO 22000 International Standard Organization./ Global Standard for Food Safety. British Retail Consortium (BRC)/ International Food Standard; IFS/ SQF Food Safety Code for Manufacturing: Edition 8.1 (1995)/ FSSC 22000 (Food Safety System Certification 22000) สามารถใช้กับการนำเข้าอาหารได้ทุกประเภท โดยต้องมีขอบข่ายของผลิตภัณฑ์อาหารนั้นระบุใน Certificate ด้วย

คำตอบ ผู้นำเข้าไม่สามารถใช้ Certificate ที่ระบุมาตรฐาน ISO 9001:2015 แสดงต่อเจ้าหน้าที่ ณ ด่านนำเข้า เพื่อ นำเข้าวัตถุเจือปนอาหารหรืออาหารประเภทอื่นได้ เนื่องจากมาตรฐาน ISO 9001:2015 ไม่ใช่มาตรฐานรับรอง ระบบการผลิตอาหาร แต่เป็นการรับรองระบบคุณภาพ ดังนั้นจึงไม่เทียบเท่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในบัญชีแนบท้าย ปสธ. 420 ข้อกำหนดพื้นฐาน แม้ว่าจะเป็น Certificate ที่ใช้ยื่นขอรับเลขสารบบอาหารก็ตาม

คำตอบ ผู้นำเข้าไม่สามารถใช้ Certificate ฉบับที่ระบุมาตรฐาน General Principle of Food Hygiene CAC 1-1969 (GMP Codex) มาแสดงต่อเจ้าหน้าที่ ณ ด่านนำเข้าได้ เนื่องจากมาตรฐานดังกล่าวเทียบเท่าข้อกำหนดพื้นฐาน แต่ ไม่เทียบเท่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในบัญชีแนบท้าย ปสธ. 420 เนื่องจากกรณีของน้ำแร่ธรรมชาติต้องเป็นไปตาม ข้อกำหนดพื้นฐานและข้อกำหนดเฉพาะ

123
แสดงผล รายการ
อย
กองด่านอาหารและยา

IMPORT AND EXPORT INSPECTION DIVISION

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ
อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

  • Website Policy
  • Privacy Policy
  • Disclaimer

รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

Sitemap
หน้าแรก
    เกี่ยวกับเรา
    • โครงสร้างองค์กร
    • วิสัยทัศนและพันธกิจ
    • อำนาจและหน้าที่
    กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
      คู่มือประชาชน
        สถิติ
          Q&A
            ติดต่อเรา

              ผู้ชมเว็บไซต์ :

              rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
                Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

                Subscribe

                เลือกหัวข้อที่ท่านต้องการ Subscribe

                no-popup